จังหวัดอุตรดิตถ์ประชุมคณะอนุกรรมการสุขภาพจิตระดับจังหวัด

Uncategorized

จังหวัดอุตรดิตถ์ประชุมคณะอนุกรรมการสุขภาพจิตระดับจังหวัด


เมื่อเวลา 13:00 น.ของวันที่ 22 มกราคม 2568 ที่ห้องประชุมศิลาอาสน์ชั้น 5 ศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ นายศิริวัฒน์ บุปผาเจริญ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุตรดิตถ์เป็นประธานการประชุมคณะอนุกรรมการสุขภาพจิตจังหวัดอุตรดิตถ์
โดยมีนายแพทย์ขจร วินัยพานิช นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ นายสราวุธ กนกอนันต์ อัยการจังหวัดอุตรดิตถ์ นายสมชาย ทองกระสัน รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ นายชูพงษ์ สังขผลิพันธ์ ผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพจิตที่ 2 พิษณุโลก นายภาณุ คูวุฒยากร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจิตเวชพิษณุโลก แพทย์หญิงเนตรนภา ภมะราภา รองผู้อำนวยการโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ พ.ต.ท.หญิงพรสวรรค์ เกลียวทอง รองผู้กำกับการฝ่ายอำนวยการกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดอุตรดิตถ์ นายณัฐวัฒน์ ราชประสิทธิ์ ผู้ประสานงานเครือข่ายสื่อมวลชนสุขภาพจิตจังหวัดอุตรดิตถ์ นายวีระ รัตนะศิริกุลชัย ประธานมูลนิธิอุตรดิตถ์สงเคราะห์ นางสาวกริสนา พลชา พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดอุตรดิตถ์ พร้อมหัวหน้าส่วนราชการและผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมในการประชุมคณะอนุกรรมการสุขภาพจิตระดับจังหวัดอุตรดิตถ์ในวันนี้มีผลสำรวจข้อมูลปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการโปรแกรม school health hero โรงเรียนทุกแห่งในอำเภอลับแลและในส่วนของสถานศึกษาในจังหวัดอุตรดิตถ์ผลการขับเคลื่อนการดำเนินการโปรแกรม school help hero ปี 2567 สำนักงานพื้นที่ประถมศึกษาเขต 1 จำนวนโรงเรียนทั้งหมด 150 9 โรงเรียนผลการใช้โปรแกรมปี 2567 จำนวนโรงเรียนที่เข้าใช้โปรแกรม 35 โรงเรียนปี 2568 จำนวนโรงเรียนที่เข้าใช้โปรแกรม 71 โรงเรียนเพิ่มขึ้น 63 โรงเรียนสำนักงานพื้นที่ประถมศึกษาอุตรดิตถ์เขต 2 มีโรงเรียน 80 โรงเรียนการใช้โปรแกรมปี 2567มี 53 โรงเรียน ปี 2568 มี 76 โรงเรียนเพิ่ม 23 โรงเรียนปัญหาที่พบการเข้าใช้โปรแกรม school help hero ยังไม่ครอบคลุมเนื่องจากบุคลากรครูบางท่านยังไม่มีความพร้อมในการใช้โปรแกรมและบุคลากรสาธารณสุขยังไม่ผ่านการอบรมconsultant และการใช้โปรแกรมรวมไปถึงสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ศึกษาธิการจังหวัดเขตพื้นที่การศึกษาไม่สามารถเข้าถึงระบบประมวลผลเพื่อกำกับติดตามการดำเนินงานได้ ในส่วนของการตรวจประเมินความเครียดและความสมดุลของระบบประสาทอัตโนมัติด้วยเครื่องมือ bio feedback และ neurofeedback มีบุคลากรเข้ารับการตรวจประเมินความเครียดและความสมดุลของระบบประสาทอัตโนมัติด้วยเครื่อง bio feedback ของสำนักงานอัยการจังหวัดอุตรดิตถ์จำนวน18 คนบุคลากรอื่น 24 คนศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุตรดิตถ์ผู้พิพากษา 3 คนผู้พิพากษาสมทบ 7 บุคลากรอื่นๆ 23 คนศาลจังหวัดอุตรดิตถ์ผู้พิพากษา 6 คนบุคลากรอื่นๆ 31 คนรวม 112 คนในส่วนของNeurofeedback บุคลากรสำนักงานอัยการจังหวัดอุตรดิตถ์ 3 คนบุคลากรอื่นๆ 6 คนศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุตรดิตถ์ผู้พิพากษาสมทบ 3 คนบุคลากรอื่น 6 คนศาลจังหวัดอุตรดิตถ์ผู้พิพากษา 1 คนบุคลากรคนอื่น 10 รวม 29 คนผลการประเมินความเครียดและความสมดุลของระบบประสาทอัตโนมัติด้วยเครื่องมือ bio feedbackจำนวนผู้ได้รับการคัดกรอง 112 รายระดับความเครียด 29 รายความเครียดทางกายสูง 15 รายความเครียดทางจิตใจสูง 11 รายความทนทานต่อความเครียดต่ำ 17 ราย ในที่ประชุมมอบให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์โรงพยาบาลอุตรดิตถ์พัฒนาศักยภาพพระสงฆ์ในการสื่อสารสุขภาพจิตในชุมชนโครงการ 100 วัตต์ 100 รูปเพื่อให้พระสงฆ์เทศนาสอนหลักธรรมให้แก่ผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาทุกสัปดาห์รวมถึงแกนนำพระสงฆ์และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกเยี่ยมบ้านกลุ่มเปราะบางและกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในชุมชนสำหรับอัตราฆ่าตัวตายสำเร็จจังหวัดอุตรดิตถ์ในปี 2567 ที่ผ่านมามีจำนวน 11.7 ต่อแสนประชากรซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กรมสุขภาพจิตตั้งไว้คือ 8 รายต่อแสนประชากรปัจจัยการฆ่าตัวตายกลุ่มเสี่ยงเป็นเพศชาย75%วัยทำงาน60%สูงอายุ40% วิธีการในการฆ่าตัวตายใช้การผูกคอ 80% อาชีพที่ฆ่าตัวตายคืออาชีพเกษตรกร 22.5% อาชีพรับจ้าง 20% ปัจจัยเสี่ยงในการฆ่าตัวตายคือป่วยโรคเรื้อรังทางไกล 22.5% ติดสารเสพติด 17.5% ป่วยโรคทางจิตเวช 7.5% ปัจจัยกระตุ้นประสบปัญหาชีวิต 80% ขัดแย้งกับคนสำคัญ 20% ซึมเศร้ากำเริบ 7.5% ปัจจัยปกป้องอ่อนแอทักษะการแก้ปัญหามีน้อย 51.5% การเฝ้าระวังป้องกันไม่ครอบคลุมระบบเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายยังไม่ดีพอ 48.5% มีสัญญาณเตือน 51.5% ทั้งหมดระบบคัดกรองและติดตามดูแลโรคซึมเศร้ายังไม่ดีพอ 27.3% ด่านกั้นการป้องกันการเข้าถึงอุปกรณ์และสถานที่ไม่ดีพอเพราะปัญหาการฆ่าตัวตายจะเป็นฆ่าตัวตายที่บ้าน 82.5%สถานการณ์พยายามฆ่าตัวตายในจังหวัดอุตรดิตถ์ทางเข้าอำเภอปีงบประมาณ 2561 อำเภอฟากท่าจำนวนพยานฆ่าตัวตาย 4 รายไม่ทำซ้ำ 4 อำเภอบ้านโคก 3 รายไม่ทำซ้ำ 3 อำเภอทองแสนขัน 8 รายไม่ทำซ้ำ 7 อำเภอตรอน 2 รายไม่ทำซ้ำ 2 อำเภอน้ำปาด 4 รายไม่ทำซ้ำ 4 อำเภอท่าปลา 3 รายไม่ทำซ้ำ 3 อำเภอลับแล 4 รายไม่ทำซ้ำ 4 อำเภอพิชัย 3 รายไม่ทำซ้ำ 3 อำเภอเมือง 87 รายไม่ทำซ้ำ 80 รายสำหรับสถานการณ์พยายามฆ่าตัวตายกลุ่มเสี่ยงคือเพศหญิง 70.70% อาชีพกลุ่มนักเรียนนักศึกษา 35.67% วิธีการกินยาเกินขนาด 62.42% ปัจจัยเสี่ยงในการพยายามฆ่าตัวตายป่วยด้วยโรคทางจิต 69.79% (โรคซึมเศร้า 78.70% )เคยทำร้ายตัวเอง 22.29% ปัจจัยกระตุ้นมีปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 79.62% รู้สึกทุกข์ทรมานจากการเจ็บเจ็บป่วย 7.6% เศรษฐกิจหนี้สิน 5.7% บางรายอาจมีปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยกระตุ้นมากกว่า 1 อย่างมีสัญญาณเตือน 15.29% ในปี 2567 ผู้พยายามฆ่าตัวตาย 118 รายไม่กลับไปทำร้ายตัวเองซ้ำ 110 รายกลับไปทำซ้ำ 8 รายในพื้นที่อำเภอเมือง 7 อำเภอทองแสนขัน 1 รายผลการดำเนินงานป้องกันและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายในชุมชนดำเนินการบูรณาการร่วมกับเครือข่ายในจังหวัดผ่านคณะครุกรรมการสุขภาพจิตระดับจังหวัดคัดกรองภาวะซึมเศร้าในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการฆ่าตัวตายได้แก่ผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรังคัดกรองผู้สูงอายุ 81,496 คนคัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 67,180 คนพัฒนาระบบเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายบูรณาการดำเนินงานร่วมกับสามหมอในพื้นที่เสี่ยงสูงดำเนินการในพื้นที่อำเภอน้ำปาดตำบลแสนตอและตำบลน้ำไผ่เครือข่ายสื่อมวลชนสุขภาพจิตจังหวัดอุตรดิตถ์และอสม. ข้าราชการครูบำนาญเข้าร่วมอบรมแกนนำผู้ประสานงานสร้างความรอบรู้สุขภาพจิตและยาเสพติดที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์รวมถึงการดูแลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรงในจังหวัดอุตรดิตถ์ปี 2567ในส่วนกลางเฝ้าระวังดูแลกลุ่มเสี่ยงต่อการก่อความรุนแรงในชุมชนเพื่อควบคุมป้องกันความรุนแรงที่เกิดจากกลุ่มเสี่ยงต่อการก่อความรุนแรงในชุมชน 1 การเฝ้าระวังและค้นหากลุ่มเสี่ยงในชุมชนในระยะเริ่มแรกอาการยังไม่รุนแรงทำให้สามารถควบคุมได้ง่าย 2 การดูแลต่อเนื่องเพื่อป้องกันการกำเริบซ้ำสำหรับข้อมูลผู้ป่วยโรคจิตเวชและจิตเวชสารเสพติดอาการกำเริบที่รับไว้นอนโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ในปี 2567โรคจิตเภท 218 คนโลกแอลกอฮอล์เรื้อรัง 128 คนโรคติดสารเสพติด 146 คนกัญชา 109 คนโรคอารมณ์ 2 ขั้ว 45 คนโรคซึมเศร้า 78 คนโรคอื่นๆ 70 คนรวม 794 คนสำหรับนิยามกลุ่มเสี่ยงSMI-V 1 ใช้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ 2 มีพฤติกรรมคำพูดอารมณ์หุนหันก้าวร้าว 3 เคยมีประวัติเอหะอาละวาดทำลายทรัพย์สิน 4 มีประวัติรักษาโรคทางจิตเวช 5 มีประวัติทำร้ายตัวเองผู้อื่นเคยขู่จะทำร้ายฆ่าตัวตายมีประวัติใช้สารเสพติด 7 มีประวัติก่อคดีอาชญากรรมปัญหาที่พบยังไม่มีระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยง smi-vที่ครอบคลุมกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เนื่องจากข้อมูลมาจากหลายแหล่งรวมถึงระบบการกำกับตามข้อมูลและการติดตามกลุ่มเสี่ยงยังไม่ชัดเจนในที่ประชุมทางสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ได้ขออนุมัติจัดทำ application ในการคัดกรองสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าในเด็กวัยเรียนรวมถึงประสานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในการคัดกรองสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางการศึกษา
นอกจากนี้ทาง นายณัฐวัฒน์ ราชประสิทธิ์ ผู้ประสานงานเครือข่ายสื่อมวลชนสุขภาพจิตจังหวัดอุตรดิตถ์ได้นำเสนอโครงการอบรมหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพ 3 หลักสูตรด้วยกันคือ 1 หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพ อสม.สุขภาพจิต 2 หลักสูตรผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพจิต 3 หลักสูตรข้าราชการครูที่เกษียณอายุราชการเพื่อให้มีทักษะพัฒนาศักยภาพ อสม.หลักสูตรผู้สูงวัย หลักสูตรข้าราชการครูเกษียณมีความรู้และทักษะด้านสุขภาพจิตที่สามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานในการประชุมให้สามารถดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นด้านสุขภาพจิตแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพระยะเวลาในการอบรม 3 วันรูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติและจัดทำแผนเผด็จการรวมถึงเนื้อหาความรู้ความเข้าใจสุขภาพจิตและการส่งเสริมสุขภาพจิตของตนเองบทบาทของอสมผู้สูงวัยข้าราชการครูผู้สูงอายุกับการพัฒนาสุขภาพจิตด้วยหลัก 3 ส. รวมถึงพ.ร.บสุขภาพจิตและการใช้แบบคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพจิตแบบประเมินความเครียดแบบคัดกรองโรคจิตเทคนิคผ่อนคลายความเครียดต่างๆรวมไปถึงเนื้อหาอื่นๆและที่เน้นในปัจจุบันคือการเฝ้าระวังและป้องกันการเกิดความรุนแรงจากผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติดฉุกเฉินในชุมชนวันที่ 3 จะเป็นวันที่เดินทางศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลจิตเวชพิษณุโลกเส้นทางผู้ว่าราชการจังหวัดอุตรดิตถ์ได้มีดำริให้ทำโครงการเสนอของบประมาณจากกองทุนผู้สูงอายุจากสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดอุตรดิตถ์ในครั้งต่อไป

ณัฐวัฒน์ ราชประสิทธิ์ ภาพ/ข่าว อุตรดิตถ์ 0612928668